ปีใหม่ 2556 เป็นโอกาสดีที่เราจะเริ่มต้นทำชีวิตให้มีความสุข วิชาความสุขมีการเรียนการสอนในการศึกษาทั้งในระบบ (วิชาสุขศึกษา) และนอกระบบ มานานมากแล้ว แต่สมาชิกของสังคมได้เรียนรู้จนเกิดปัญญาที่จะสร้างสุขให้ตนเองที่ต้องการตามสภาพที่เป็นอยู่จริงไม่มากนัก
แรงบันดาลใจสร้างสุข : นพ.ไพศาล เกื้ออรุณ อดีตนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และนักสันติวิธี
ระยะนี้ มีข่าวผู้ที่มีผู้ที่เสนอตัวมาสร้างสุขให้กับสังคม ที่มีแรงจูงใจในการกระทำ คือ การมีอำนาจในการดำรงอยู่ในฐานะสมาชิกของรัฐเป็นสินจ้างรางวัล แรงจูงใจเช่นนี้ เป็นความสุ่มเสี่ยงอย่างยิ่ง ที่จะทำให้เกิดการมุ่งสู่เป้าหมายโดยไม่สนใจวิธีการ สุดท้ายการเข้าสู่ตำแหน่งด้วยแรงจูงใจที่เร่าร้อน คงส่งผลให้ใช้วิธีการที่ไม่ตรงกับวิธีการสรรหาผู้นำของสังคม การใช้วิธีการที่ไม่เหมาะสมเพื่อให้ได้รับการตอบสนองแรงจูงใจจะตามมา
บอลโลกกับการออกกำลังกาย : นพ.ไพศาล เกื้ออรุณ อดีตนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และนักสันติวิธี
เมื่อลงทุนทั้งที่เป็นเงิน และทุนที่ไม่ใช่เงินมากมายเช่นนี้ รัฐบาลไทยจะเกาะกระแสบอลโลกสร้างสุขภาพเสียหน่อยจะดีไหม การลงทุนเพิ่มไม่มากนัก ใช้กระแสบอลโลกปลุกเร้าความต้องการสร้างสุขภาพด้วยการออกกำลังกายเสียเลยจะดีไหม
นี่หรือนักสร้างสุขสาธารณะ : นพ.ไพศาล เกื้ออรุณ ประธานคณะกรรมการจริยธรรมจังหวัดตรัง อดีตนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และนักสันติวิธี
"บุคคลที่มีจิตวิญญาณของแพทย์ตามปกติ (ที่ผิดปกติก็ว่ากันไป) ย่อมมีความพยายามบำบัดทุกข์ สร้างสุขให้กับสาธารณชน จนเกิดเป็นปทัสถานของชีวิต แพทย์น้อยยิ่งกว่าน้อยที่เป็นแบบแพทย์ที่ปรากฏในข่าว ไม่แน่ใจว่าที่จังหวัดของเราจะมีหรือไม่ หากมี แม้จะน้อยเพียงใด ก็ต้องช่วยกันขจัดมะเร็งร้ายแห่งความดีที่บรรพบุรุษของวิชาชีพเพียรสั่งสมมา"
เมืองกีฬา เมืองแห่งความสุข (3) : นพ.ไพศาล เกื้ออรุณ อดีตนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และนักสันติวิธี
เมืองกีฬา เมืองแห่งความสุข (3) : นพ.ไพศาล เกื้ออรุณ อดีตนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และนักสันติวิธี
ตรังเมืองแห่งความสุข (2) : นพ.ไพศาล เกื้ออรุณ อดีตนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และนักสันติวิธี
ตรังเมืองแห่งความสุข (2) : นพ.ไพศาล เกื้ออรุณ อดีตนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และนักสันติวิธี
โยนิโสมนสิการ หนองบัวลำภู : นพ.ไพศาล เกื้ออรุณ อดีตนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด นักสันติวิธี อดีตคอลัมนิสต์หนังสือพิมพ์ฅนตรัง
บทเรียนที่เกิดขึ้น เพียงพอหรือยังที่จะดำเนินการปกป้องสังคม ให้สมาชิกของสังคมสามารถมีชีวิตอยู่รอดได้ ความสุขขั้นต้นควรได้รับการสนองตอบเสียที การคิดตรึงตรองแบบโยนิโสมนสิการควรเกิดขึ้น เมื่อทราบเหตุที่แท้จริงแล้ว ควรนำมาเปิดเผยสานเสวนา ร่วมมือกันแก้ไข
“ตรัง” สังคมแห่งความสุข (๑) โดย นพ.ไพศาล เกื้ออรุณ อดีตนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และนักสันติวิธี
"จังหวัดตรังเคยเป็นจังหวัดที่มีความสุขอันดับที่ ๓ ของประเทศ ในปี ๒๕๕๔ จากนั้นก็ลำดับค่อย ๆ ลดลงตามลำดับ เราคนตรังจะปล่อยให้เราสุขทุกข์ตามยถากรรมไปอีกนานเท่าไร เราควรทำอย่างไรให้ ตรังเราเป็นเมืองแห่งความสุข ความสุขที่สังคมตรังทุกหมู่เหล่าจะร่วมกันสานพลังสร้างสุข ตามเงื่อนไขที่มีอยู่ ไม่ตั้งเงื่อนไขที่ไม่มีอยู่จริงในการสร้างสุข"